พัฒนาศักยภาพครูภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีการศึกษาในการวิเคราะห์โจทย์ O-NET ป 6

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ พัฒนาศักยภาพครูภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีการศึกษาในการวิเคราะห์โจทย์ O-NET ป 6 ”

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

หัวหน้าโครงการ
อาจารย์เฟรดาว สุไลมาน

ชื่อโครงการ พัฒนาศักยภาพครูภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีการศึกษาในการวิเคราะห์โจทย์ O-NET ป 6

ที่อยู่ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จังหวัด

รหัสโครงการ ET101 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"พัฒนาศักยภาพครูภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีการศึกษาในการวิเคราะห์โจทย์ O-NET ป 6 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
พัฒนาศักยภาพครูภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีการศึกษาในการวิเคราะห์โจทย์ O-NET ป 6



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาครูและบุคคลากรทางการศึกษาในพื้นที่ชายแดนใต้ในการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงและลดความเหลื่อมส้ำจากเหตุการณ์ความไม่สงบ โดยเพิ่มโอกาสในการได้รับการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน (2) เพื่อปลูกฝังทัศนคติที่ถูกต้องให้กับเด็กและเยาวชนผ่านครูและบุคคลากรทางการศึกษาที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพจากมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ 1. การพัฒนาทักษะการวิเคราะห์โจทย์ O-NET ของครูผู้สอนในรายวิชาภาษาอังกฤษ ชั้นประถมศึกษาปี่ที่ 6

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรปรับเลื่อนช่วงเวลาดำเนินงานก่อนการสอน O-NET ของโรงเรียนในพื้นที่ก่อนเวลาสอบ 2 เดือนขึ้นไป เพื่อให้ครูผู้สอนมีเวลามากขึ้นในการติว O-NET ให้แก่นักเรียน โดยใช้ทักษะที่ได้รับจากการอบรมได้อย่างเต็มที่

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพท์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากข้อมูลพื้นฐานทางการศึกษาพบว่าในพื้นที่ชายแดนใต้ มีประชากรวัยเรียน อายุ 3-21 ปี จำนวน 961,063 คน มีจำนวนครูและบุคคลากรทางการศึกษาจำนวน 59,625 คน และมีสถานศึกษาทุกสังกัด รวมถึงตาดีกา จำนวน 5,084 แห่ง (ศูนย์ประสานและบริหารการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ 2561) แสดงให้เห็นถึงปริมาณงานด้านการศึกษาและกลุ่มประชากรและกลุ่มเป้าหมายที่จำนำไปสู่การสร้างความมั่นคงให้เกิดขึ้นในพื้นที่ชายแดนใต้ โดยกลุ่มครูและบุคคลากรทางการศึกษาเป็นกลุ่มคนที่มีความสำคัญในการส่งต่อทัศนคติและชุดความเชื่อที่ถูกต้องไปสู่เด็กนักเรียนและเยาวชนผ่านการจัดการศึกษาในระบบโรงเรียน โดยมีกิจกรรมสำคัญที่ต้องดำเนินการเพื่อสนับสนุนแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ดังนี้ กิจกรรม: พัฒนาศักยภาพครูในทุกกลุ่มสาระและครูสอนไม่ตรงสายให้สามารถสอนได้อย่างถูกต้อง มั่นใจ เพื่อการสื่อสารทัศนคติที่ถูกต้อง

ความจำเป็นเร่งด่วน   มีความจำเป็นเร่งด่วนเนื่องจาก การเสริมสร้างความมั่นคงต้องใช้กระบวนการปลูกฝังและบ่มเพาะทัศนคติในทางบวกโดยยกกระบวนการทางการศึกษาจึงจะสามารถนำไปสู่การแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน อีกทั้งการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพจะลดความเหลื่อมล้ำที่เกิดจากเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ชายแดนใต้ นำไปสู่ความมั่นคงในพื้นที่ โดยมีครูและบุคลากรทางการศึกษาโดยเฉพาะผู้บริหารและบุคคลากรอื่นๆเป็นกลไกสำคัญในการจัดการศึกษา ซึ่งมีโจทย์สำคัญในพื้นที่คือ "ความสามารถด้านภาษาและการอ่านเขียนได้ ภาษาไทย"

หน่วยงานบูรณาการ 1) หน่วยงานรับผิดชอบหลัก มหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลา 2) หน่วยบูรณาการ

หน่วยดำเนินงานที่เกี่ยวข้อง 1. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดยะลา จังหวัดปัตตานี และจังหวัดนราธิวาส 2. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชนจังหวัดยะลา จังหวัดปัตตานี และจังหวัดนราธิวาส 3. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 15 4. องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นในจังหวัดยะลา จังหวัดปัตตานี และจังหวัดนราธิวาส 5. สถานศึกษาในพื้นที่จังหวัดยะลา จังหวัดปัตตานี และจังหวัดนราธิวาส

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาครูและบุคคลากรทางการศึกษาในพื้นที่ชายแดนใต้ในการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงและลดความเหลื่อมส้ำจากเหตุการณ์ความไม่สงบ โดยเพิ่มโอกาสในการได้รับการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน
  2. เพื่อปลูกฝังทัศนคติที่ถูกต้องให้กับเด็กและเยาวชนผ่านครูและบุคคลากรทางการศึกษาที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพจากมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    ครูผู้สอนวิชาภาษาอังกฤษระดับชั้นประถมศึกษา ในสามจั 100

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ครูผู้สอนสามาถจัดการเรียนรู้ที่สามารถถ่ายทอดทัศนคติที่ถูกต้องและความมั่นใจสู่ผู้ปกครองได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. จัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพ O-NET ป.6

    วันที่ 27 ธันวาคม 2562

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ขั้นตอนการวางแผน กำหนดเป้าหมาย และเตรียมดำเนินงาน จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน เพื่อประชุมวางแผนกรอบงานในการจัดสรรงบประมาณ จัดทำวัตถุประสงค์ของโครงการ กลุ่มเป้าหมาย ผลที่คาดหวังว่าจะได้รับหลังสิ้นสุดโครงการ และการสรรหาวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิทั้งภายในและภายนอกที่เหมาะสมกับจุดประสงค์การอบรม 2.ขั้นตอนการดำเนินงาน ฝ่ายงานต่างๆ ตามคำสั่งแต่งตั้งจัดดำเนินงานตามแผนงานที่วางไว้อย่างเป็นระบบ โดยการติดต่อประสานงานผู้เกี่ยวข้องด้านงบประมาณ สถานที่อบม และสิ่งสนับสนุนการจัดโครงการ เพื่อเตรียมพร้อมกับการดำเนินงานในวันเวลาที่กำหนด 3.ขั้นตอนการตรวจสอบ ผู้รับผิดชอบตามคำสั่งแต่งตั้งทำการตรวจสอบผลการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอนของแผนงาน เพื่อปรับปรุงแก้ไขอุปสรรคและปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการอบรม ทั้งนี้ได้ปรับเปลี่ยนแนวทางปฏิบัติในขั้นตอนของการรับลงทะเบียนของผู้เข้าอบรม เพื่ออำนวยความสะดวก และลดขัั้นตอนการลงทะเบียน 4.ขั้นตอนการปรับปรุงแก้ไข คณะกรรมการดำเนินงานทำการปรับปรุงแก้ไขส่วนงานที่เกิดปัญหา และยอมรับแนวทางการปฏิบัติตามแผนงานที่ได้วางไว้ในส่วนที่สามารถดำเนินงานได้อย่างเรียบร้อย ทั้งนี้แผนงานทั้งหมดได้บรรลุผลสำเร็จ เพื่อนำไปใช้ในการทำงานครั้งต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครูที่สอนในกลุ่มวิชาภาษาอังกฤษได้รับการพัฒนาศักยภาพให้สามารถวิเคราะห์โจทย์ O-NET ภาษาอังกฤษได้อย่างมั่นใจ และถ่ายทอดความเชื่อมั่นไปสู่ผู้ปกครองเด็กและเยาวชนได้

    • photo

     

    100 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อพัฒนาครูและบุคคลากรทางการศึกษาในพื้นที่ชายแดนใต้ในการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงและลดความเหลื่อมส้ำจากเหตุการณ์ความไม่สงบ โดยเพิ่มโอกาสในการได้รับการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน
    ตัวชี้วัด : ครูที่สอนในกลุ่มวิชาภาษาอังกฤษได้รับการพัฒนาศักยภาพให้สามารวิเคราะห์โจทย์ O-NET ภาษาอังกฤษได้อย่างมั่นใจ และถ่ายทอดความเชื่อมั่นไปสู่ผู้ปกครองเด็กและเยาวชน
    100.00 100.00

    ร้อยละของครูและบุคคลากรทางการศึกษาเข้าร่วมโครงการมีทัศนคติทางบวกในการแก้ปัญหาโดยภาครัฐในระดับดีมาก

    2 เพื่อปลูกฝังทัศนคติที่ถูกต้องให้กับเด็กและเยาวชนผ่านครูและบุคคลากรทางการศึกษาที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพจากมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีทัศนคติทางบวกในการให้ความร่วมมือกับสถานศึกษาในการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กในพื้นที่ชายแดนใต้ในระดับดีมาก
    80.00 80.00

    ร้อยละของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีทัศนคติทางบวกในการให้ความร่วมมือกับสถานศึกษาในการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กในพื้นที่ชายแดนใต้ในระดับดีมาก

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    ครูผู้สอนวิชาภาษาอังกฤษระดับชั้นประถมศึกษา ในสามจั 100

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. ครูที่สอนในกลุ่มวิชาภาษาอังกฤษได้รับการพัฒนาศักยภาพให้สามารวิเคราะห์โจทย์ O-NET ภาษาอังกฤษได้อย่างมั่นใจ และถ่ายทอดความเชื่อมั่นไปสู่ผู้ปกครองเด็กและเยาวชน 2.ร้อยละของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีทัศนคติทางบวกในการให้ความร่วมมือกับสถานศึกษาในการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กในพื้นที่ชายแดนใต้ในระดับดีมาก

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาครูและบุคคลากรทางการศึกษาในพื้นที่ชายแดนใต้ในการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงและลดความเหลื่อมส้ำจากเหตุการณ์ความไม่สงบ โดยเพิ่มโอกาสในการได้รับการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน (2) เพื่อปลูกฝังทัศนคติที่ถูกต้องให้กับเด็กและเยาวชนผ่านครูและบุคคลากรทางการศึกษาที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพจากมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ 1. การพัฒนาทักษะการวิเคราะห์โจทย์ O-NET ของครูผู้สอนในรายวิชาภาษาอังกฤษ ชั้นประถมศึกษาปี่ที่ 6

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรปรับเลื่อนช่วงเวลาดำเนินงานก่อนการสอน O-NET ของโรงเรียนในพื้นที่ก่อนเวลาสอบ 2 เดือนขึ้นไป เพื่อให้ครูผู้สอนมีเวลามากขึ้นในการติว O-NET ให้แก่นักเรียน โดยใช้ทักษะที่ได้รับจากการอบรมได้อย่างเต็มที่

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ พัฒนาศักยภาพครูภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีการศึกษาในการวิเคราะห์โจทย์ O-NET ป 6

    รหัสโครงการ ET101 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    พัฒนาศักยภาพครูภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีการศึกษาในการวิเคราะห์โจทย์ O-NET ป 6 จังหวัด

    รหัสโครงการ ET101

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( อาจารย์เฟรดาว สุไลมาน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    ไปบนสุด