อบรมการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณด้วยโปรแกรม Scratch (ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น)

9 ธันวาคม 2562
มามี สุหลงกุมามี สุหลงกุ
รายงานจากพื้นที่
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันที่ 30 พฤศจิกายน 2562 08.30 – 09.00 น. ลงทะเบียน ตรวจรายชื่อ และพิธีเปิด 09.00 – 10.30 น. แนะนำการใช้งาน และสมัคร ใช้งาน scratch 3.0 แบบออนไลน์ 10.30 – 10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.45 – 12.15 น. แนะนำส่วนประกอบต่าง ๆ ของโปรแกรม และการเคลื่อนที่ของตัวละคร 12.15 – 13.15 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.15 – 14.45 น.  ความสัมพันธ์ระหว่างพิกัดและการเคลื่อนที่ของตัวละคร 14.45 – 15.00 น. พักรับประทานอาหารว่าง
15.00 – 16.30 น.  การใช้งาน broadcast และการสนทนาของตัวละคร วันที่ 1 ธันวาคม 2562 08.30 – 09.00 น. ลงทะเบียน
09.00 – 10.00 น.  การใช้ บล็อกในกลุ่ม Event 10.30 – 10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.45– 12.15 น.  การใช้งานบล็อกถาม-ตอบ และการเปลี่ยนฉาก 12.15 – 13.15 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.15 – 14.45 น.  การใช้งานบล๊อก Sensor ในรูปแบบต่างๆ 14.45 – 15.00 น . พักรับประทานอาหารว่าง
15.00 – 16.30 น. การสร้างตัวแปร และการใช้งานตัวแปร

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ
  2. ผู้เข้ารับการอบรมมีแผนที่จะนำความรู้ ความเข้าใจ และทักษะที่ได้รับจากการฝึกอบรมไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้

ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม : (0)

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่ายสถานะ
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
9,200.00 2,000.00 12,400.00 8,750.00 8,500.00 12,400.00 53,250.00

อบรมการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณด้วยโปรแกรม Scratch (ระดับประถมศึกษาตอนปลาย)

9 ธันวาคม 2562
มามี สุหลงกุมามี สุหลงกุ
รายงานจากพื้นที่
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันที่  30 พฤศจิกายน 2562 08.30 – 09.00 น. ลงทะเบียน ตรวจรายชื่อ และพิธีเปิด 09.00 – 10.30 น. แนะนำการใช้งาน และสมัคร ใช้งาน scratch 3.0 แบบออนไลน์ 10.30 – 10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.45 – 12.15 น. แนะนำส่วนประกอบต่าง ๆ ของโปรแกรม และการเคลื่อนที่ของตัวละคร 12.15 – 13.15 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.15 – 14.45 น.  ความสัมพันธ์ระหว่างพิกัดและการเคลื่อนที่ของตัวละคร 14.45 – 15.00 น. พักรับประทานอาหารว่าง
15.00 – 16.30 น.  การใช้งาน broadcast และการสนทนาของตัวละคร วันที่ 1 ธันวาคม 2562 08.30 – 09.00 น. ลงทะเบียน ตรวจรายชื่อ และพิธีเปิด 09.00 – 10.00 น.  การใช้ บล็อกในกลุ่ม Event 10.30 – 10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.45– 12.15 น.  การใช้งานบล็อกถาม-ตอบ และการเปลี่ยนฉาก 12.15 – 13.15 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.15 – 14.45 น.  การใช้งานบล๊อก Sensor ในรูปแบบต่างๆ 14.45 – 15.00 น . พักรับประทานอาหารว่าง
15.00 – 16.30 น. การสร้างตัวแปร และการใช้งานตัวแปร

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ
  2. ผู้เข้ารับการอบรมมีแผนที่จะนำความรู้ ความเข้าใจ และทักษะที่ได้รับจากการฝึกอบรมไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้

ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม : (0)

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่ายสถานะ
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
9,200.00 2,000.00 12,400.00 8,750.00 8,500.00 12,400.00 53,250.00

อบรมการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณด้วยกิจกรรมอันปลั๊ก (ระดับประถมศึกษาตอนต้น)

9 ธันวาคม 2562
มามี สุหลงกุมามี สุหลงกุ
รายงานจากพื้นที่
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันที่  23 พฤศจิกายน 2562 08.30 – 09.00 น. ลงทะเบียน ตรวจรายชื่อ และพิธีเปิด 09.00 – 10.30 น. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกิจกรรมอันปลั๊ก 10.30 – 10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.45 – 12.15 น. การเรียนการสอนอัลกอริทึมด้วยเกมกระดาษ 12.15 – 13.15 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.15 – 14.45 น.  การเรียนการสอนอัลกอริทึมด้วยเกมกระดาษ (ต่อ) 14.45 – 15.00 น. พักรับประทานอาหารว่าง
15.00 – 16.30 น. การเรียนการสอนอัลกอริทึมด้วยเกมกระดาษ (ต่อ) วันที่  24 พฤศจิกายน 2562 08.30 – 09.00 น. ลงทะเบียน 09.00 – 10.30 น. การสร้างสื่อและการจัดกิจกรรมอันปลั๊กเพื่อเรียนรู้อัลกอริทึม 10.30 – 10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.45 – 12.15 น. การสร้างสื่อและการจัดกิจกรรมอันปลั๊กเพื่อเรียนรู้อัลกอริทึม (ต่อ) 12.15 – 13.15 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.15 – 14.45 น.  การสร้างสื่อและการจัดกิจกรรมอันปลั๊กเพื่อเรียนรู้อัลกอริทึม (ต่อ) 14.45 – 15.00 น. พักรับประทานอาหารว่าง
15.00 – 16.30 น. การสร้างสื่อและการจัดกิจกรรมอันปลั๊กเพื่อเรียนรู้อัลกอริทึม (ต่อ)

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ
  2. ผู้เข้ารับการอบรมมีแผนที่จะนำความรู้ ความเข้าใจ และทักษะที่ได้รับจากการฝึกอบรมไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้

ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม : (0)

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่ายสถานะ
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
9,200.00 2,000.00 12,400.00 8,750.00 8,500.00 12,400.00 53,250.00

การจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณด้วยโปรแกรม Python (ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย)

6 ธันวาคม 2562
มามี สุหลงกุมามี สุหลงกุ
รายงานจากพื้นที่
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันที่ 23 พฤศจิกายน 2562 08.30 – 09.00 น. ลงทะเบียน ตรวจสอบรายชื่อ และพิธีเปิด 09.00 – 10.30 น. ทำความรู้จักกับภาษา Python เรียนรู้การติดตั้งไพธอนไอดีอี รวมถึงโครงสร้างและลักษณะการเขียนโปรแกรม 10.30 – 10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.45 – 12.15 น. รู้จักตัวแปรต่างๆ ของ Python คำสั่งการแสดงผล และ การรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด 12.15 – 13.15 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.15 – 14.45 น.  การใช้คำสั่งแบบมีทางเลือก if , if else และ if elif 14.45 – 15.00 น. พักรับประทานอาหารว่าง
15.00 – 16.30 น. ฝึกปฏิบัติเขียนโปรแกรมแบบมีทางเลือก วันที่ 24 พฤศจิกายน 2562 08.30 – 09.00 น. ลงทะเบียน 09.00 – 10.30 น. การใช้คำสั่งแบบวนซ้ำ for 10.30 – 10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.45 – 12.15 น. ฝึกปฏิบัติเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ for 12.15 – 13.15 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.15 – 14.45 น.  การใช้คำสั่งแบบวนซ้ำ while, do-while 14.45 – 15.00น.    พักรับประทานอาหารว่าง
15.00 – 16.30 น. ฝึกปฏิบัติเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ while, do-while

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ
  2. ผู้เข้ารับการอบรมมีแผนที่จะนำความรู้ ความเข้าใจ และทักษะที่ได้รับจากการฝึกอบรมไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้

ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม : (0)

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่ายสถานะ
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
9,200.00 2,000.00 12,400.00 8,750.00 8,500.00 12,400.00 53,250.00